วันพฤหัสบดีที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2551

ภาษา HTML

ภาษา HTML
HTML ย่อมาจาก Hyper Text Makeup Language เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนเวบเพจ ซึ่งเป็นภาษาพื้นฐานในการเขียนเวบเพจ ไม่ว่าเราจะไปดู Source Code ในเวบเพจใดSource Code ที่เราเห็นจะเป็นภาษา HTML ทั้งสิ้น ไม่ว่าเวบเพจนั้นจะเขียนหรือสร้างจากโปรแกรมใด ทั้งนี้เนื่องจาก HTMLเป็นภาษากลางในการติดต่อในปัจจุบัน ได้มีโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนเวบเพจมากมาย ซึ่งไม่จำเป็นที่จะต้องมีพื้นฐานเกี่ยวกับภาษา HTML ก็สามารถสร้างเวบเพจได้ โปรแกรมที่ใช้ในการสร้าง เช่น Macromedia Dreamwaver , Flash 4 , FrontPage เป็นต้น
ตัวอย่าง
ในการเขียนภาษา HTML Notepad Word Pad Save .HTML Internet Explore Netscape Navigator …, …, , … เหล่านี้เป็นองค์ประกอบหลักในเวบเพจแต่ละหน้า ดังตัวอย่างต่อไปนี้



ฟอร์มหลักในการเขียนภาษา HTML
ซึ่งจะสังเกตได้ว่า ในทุกคำสั่งเมื่อจบคำสั่งจะต้องมี เสมอ
ผลที่ได้
เป็นผลทีได้จากการแสดงใน Internet Explore จะเห็นว่า ข้อความที่เขียนในคำสั่ง จะแสดงอยู่ใน Title Bar และ จะแสดงเส้นปะ ซึ่งเป็นส่วนที่อยู่ระหว่างคำสั่ง … ซึ่งจะกล่าวถึงรายละเอียดของคำสั่งเหล่านี้ในหัวข้อต่อไปนี้
บทที่1
คำสั่งเบื้องต้น
คำสั่งเบื้องต้นที่จะกล่าวถึง มีทั้งหมด 4 คำสั่ง ดังนี้
คำสั่งเริ่มต้น
รูปแบบคำสั่ง …
คำสั่ง เป็นคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนเวบเพจด้วยภาษา HTML และเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมจะใช้
ส่วนหัวของโปรแกรม
รูปแบบคำสั่ง …
คำสั่ง เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดข้อความที่เป็นชื่อเรื่อง และภายในคำสั่งนี้จะมีคำสั่งย่อยอีกคำสั่งหนึ่ง คือ
กำหนดข้อความในส่วนของ Title bar
รูปแบบคำสั่ง
คำสั่ง
ส่วนของเนื้อหา
รูปแบบคำสั่ง …
คำสั่ง เป็นคำสั่งที่ใช้แสดงผลตามที่เราต้องการ โดยสิ่งที่เราต้องการที่จะแสดงผล จะอยู่ในส่วนของ และจะปิดท้ายโปรแกรมด้วย โดยคำสั่งต่างๆ ที่จะใช้ในส่วนของการแสดงผลจะกล่าวในตอนต่อไป
บทที่2
คำสั่งที่ใช้ในการแบ่งเฟรม
ฟอร์มหลักในการเขียนคำสั่งที่ใช้ในการแบ่งเฟรม
คำสั่ง
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดการแบ่งพื้นที่ โดยสามารถแบ่งได้ 2 ส่วน คือ แนวนอน ROWS และแนวตั้ง COLS
การแบ่งในแนวนอน ROWS
รูปแบบคำสั่ง
ตัวอย่าง
ผลที่ได้
การแบ่งในแนวตั้ง COLS
รูปแบบคำสั่ง
ตัวอย่าง
ผลที่ได้
หมายเหตุ * คือ เปอร์เซ็นต์ที่เหลือ เช่น 80,* หมายถึง แบ่งพื้นที่เป็น 80 : 20

การแบ่งในแนวตั้งและแนวนอน COLS and ROWS
รูปแบบคำสั่ง


ตัวอย่าง


คำสั่งที่กำหนดข้อมูลที่ต้องการแสดงในเฟรม
เป็นการกำหนดแหล่งที่มาของข้อมูลที่ต้องการแสดงในแต่ละส่วนของพื้นที่ เช่น ไฟล์รูปภาพ , ไฟล์ของ HTML หรือ URL ที่ต้องการ
รูปแบบคำสั่ง

ซึ่งแสดงไว้ในตัวอย่างของคำสั่งการแบ่งเฟรมต่างๆ ที่ได้แสดงมาแล้วข้างต้น



บทที่3
คำสั่งพื้นฐาน
ในที่นี้จะกล่าวถึงคำสั่ง การขึ้นบรรทัดใหม่
, การย่อหน้าใหม่

และ เส้นคั่นบรรทัด



ในภาษา HTML เป็นคำสั่งที่ช่วยในการจัดรูปแบบข้อความที่ต้องการแสดงในเวบเพจ
การขึ้นบรรทัดใหม่

คำสั่ง
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการขึ้นบรรทัดใหม่ โดยจะวางคำสั่งนี้ในตำแหน่งสุดท้ายของประโยคที่ต้องการให้แสดงผลในบรรทัดใหม่
รูปแบบคำสั่ง

ตัวอย่าง
ผลที่ได้
การย่อหน้าใหม่


คำสั่ง

เป็นคำสั่งที่ใช้ในการขึ้นย่อหน้าใหม่ โดยการเว้นบรรทัด 1 บรรทัด แล้วขึ้นบรรทัดใหม่ โดยจะวางคำสั่ง

ไว้ข้างหน้าประโยคที่เราต้องการย่อหน้าใหม่ หรือท้ายสุดของประโยคที่เราไม่ต้องการให้อยู่ในบรรทัดเดียวกัน และจะปิดท้ายประโยคด้วยคำสั่ง

ซึ่งดูได้จากตัวอย่าง
รูปแบบคำสั่ง

….


ตัวอย่าง
ผลที่ได้
เส้นคั่นบรรทัดใหม่

คำสั่ง

เป็นคำสั่งที่ใช้ในการขีดเส้นแบ่งข้อความในเวบเพจ โดยจะวางคำสั่ง

ไว้ด้านหลังประโยคหรือด้านประโยคตามที่เราต้องการ ซึ่งสามารถดูได้จากตัวอย่าง
รูปแบบคำสั่ง

ตัวอย่าง
ผลที่ได้
เราสามารถกำหนดความยาวของเส้นคั่น, กำหนดความหนาของเส้นคั่น และกำหนดตำแหน่งของเส้นคั่นบรรทัด ได้โดยกำหนดความยาวเป็นเปอร์เซ็นต์ หรือตัวเลข ตามรูปแบบคำสั่งและตัวอย่าง ดังต่อไปนี้
การกำหนดความยาวของเส้นคั่น
รูปแบบคำสั่ง

การกำหนดความหนาของเส้นคั่น
รูปแบบคำสั่ง

การกำหนดตำแหน่งของเส้นคั่นบรรทัด
รูปแบบคำสั่ง

หมายเหตุ ซึ่งในตัวอย่างจะเป็นการใช้คำสั่งทั้ง 3 คำสั่ง ดังนี้


ตัวอย่าง
ผลที่ได้




บทที่4
คำสั่งเกี่ยวกับคุณสมบัติของตัวอักษร
ในส่วนนี้จะกล่าวถึงคุณสมบัติของตัวอักษร ไม่ว่าจะเป็นขนาด สี ตำแหน่ง ของตัวอักษรที่เราต้องการให้แสดงในเวบเพจของเรา
การกำหนดขนาดของ Header
คำสั่งที่เราจะใช้คือ ซึ่งเป็นคำสั่งที่กำหนดลักษณะและขนาดของตัวอักษร โดยในคำสั่งนี้จะมีระดับต่างกัน 6 ระดับ คือ ระดับ 1 จะมีขนาดใหญ่ที่สุด และจะเล็กลงไปเรื่อยๆ ถึงระดับที่ 6 ซึ่งมีขนาดเล็กที่สุด โดยเมื่อสิ้นสุดประโยคหรือบรรทัดที่เราต้องการต้องลงท้ายด้วย
รูปแบบคำสั่ง x คือ ระดับ 1 – 6
ตัวอย่าง
ผลที่ได้
การกำหนดขนาดของตัวอักษร
การกำหนดขนาดตัวอักษร ในที่จะกล่าวถึงเพียงคำสั่งเดียวที่นิยมใช้กัน เพื่อป้องกันการสับสน คำสั่ง ซึ่งจะมีระดับขนาดตัวอักษรตั้งแต่ -7 ถึง +7 ซึ่งตัวเลขยิ่งมากขนาดยิ่งใหญ่ และเมื่อจบประโยคหรือข้อความที่เราต้องการจะต้องจบด้วย
รูปแบบคำสั่ง ….
ตัวอย่าง
ผลที่ได้

การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
เป็นการกำหนดให้ตัวอักษรให้มีลักษณะเป็นตัวหนา (Bold text), ตัวเอียง (Italic text) และ ตัวขีดเส้นใต้ (Underlined text) ซึ่งมีรูปแบบคำสั่งดังนี้
การกำหนดตัวอักษรให้เป็นตัวหนา
รูปแบบคำสั่ง
การกำหนดตัวอักษรให้เป็นตัวเอียง
รูปแบบคำสั่ง
การกำหนดตัวอักษรให้เป็นตัวขีดเส้นใต้
รูปแบบคำสั่ง
ตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นรวมคำสั่งทั้ง 3 ไว้ในตัวอย่างเดียว
ตัวอย่าง
ผลที่ได้
การกำหนดชนิดตัวอักษร
คำสั่ง เป็นการกำหนดชนิดของตัวอักษรตามที่เราต้องการ ชื่อชนิดของตัวอักษรจะใช้ตามชื่อตามโปรแกรม Word
รูปแบบคำสั่ง
ตัวอย่าง

ผลที่ได้
การกำหนดตำแหน่งข้อความ
เป็นการกำหนดให้ข้อความอยู่ชิดซ้าย ชิดขวา หรือตรงกลาง หน้ากระดาษ ตามที่เราต้องการ ซึ่งสามารถใช้คำสั่งตามรูปแบบ ดังต่อไปนี้
รูปแบบคำสั่ง

….


ตัวอย่าง

ผลที่ได้





ไม่มีความคิดเห็น: